วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

練 8 習 B

練習 B

1.
1.1 サントスさんは げんきです。
1.2 カリナさんは きれいです。
1.3 ふじさんは 高いです。
1.4 8月は 暑い(あつい)です。

2.
2.1 イーさんは いまじゃ ありません。
2.2 ワンさんの へやは きれいじゃ ありません。
2.3 ミラーさんは いぞがしくないです。
2.4 日本語は やさしくないです。

4.1 会社の りょうは どうですか。
ふるいですが、きれいです。
4.2 会社の 人は どうですか。
しんせつです。ぞして、おもしろいです。
4.3 日本の たべものは どうですか。
おいしいですが、高いです。
4.4 仕事は(しごと) どうですか。
いぞがしいですが、おもしろいです。

5.
5.1 埋めたいな ぎゅうにゅうを のみました。
5.2 あたらしい ビヂオを かりました。
5.3 してきな プレセントを もらいました。
5.4 うめいな きのうのばん レストランで 食べました。

6.
6.1 七人の さむらいは どんな 映画(えいが)ですか。
おもしろい 映画です。
6.2 サントスさんは どんな 人ですか。
しんせつな ひとです。
6.3 IMCは どんな 会社ですか。
新しい(あたらしい) 会社です。
6.4 スイスは どんな 国ですか。
きれいな 国です。

7.
7.1 IMCは おおきい 会社ですか。
いいえ、おおきくないです。
7.2 ワットさんは いい 先生ですか。
はい、いい 先生です。
7.3 さくら大学は うめいな 大学ですか。
いいえ、 あまり うめいな 大学じゃ ありません。
7.4 ふじ山は きれいな 山ですか。
はい、とても きれいです。

วันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554

きょうは なんようび ですか。 # 2

  มู้ก่อนนั้น เขียนเกี่ยวกับระบบวันไปแล้ว มู๊นี้มาดูกันต่อว่าเกี่ยวกับวัน มีอะไรบ้าง  แต่ก่อนอื่นมาดูกันก่อนว่า ช่วงเวลาในแต่ละวัน วันนี้ วันก่อนหน้านี้ และวันถัดจากนี้ในภาษาญี่ปุ่นนั้น พูดว่าอย่างไรบ้าง
เมื่อวานซืน            = おととい 
เมื่อวาน       = きのう
วันนี้         = きょう
วันพรุ่งนี้       = あした
มะรืนนี้        = あさって
ตอนเช้า       = あさ
ตอนกลางวัน    = ひる
ตอนเย็น,กลางคืน = ばん (よる)
เมื่อเช้า       = けさ
ตอนเย็น,คืนนี้   = こんばん
ทุก ๆ เช้า      = まいあさ
ทุก ๆ คืน      = まいばん
ทุก ๆ วัน      = まいにち

 ตัวอย่างการถามตอบเกี่ยวกับวัน

A : きょうは なんようび ですか。  วันนี้เป็นวันอะไร
B : にちようび です。 วันอาทิตย์

 ถ้าจะถามถึงเช้าเมื่อวาน, เช้าวันพรุ่งนี้, กลางคืนเมื่อวันก่อน นั้น ตรงนี้สามารถจำได้ง่าย ๆ เลยว่า นอกจาก けさ、 กับ こんばん แล้ว ที่เหลือให้ใช้ の เชื่อมทั้งหมด  เช่น

ตอนเช้าเมื่อวาน       = きのうのあさ = 昨日の朝
ตอนกลางวันเมื่อวาน = きのうのひる = 昨日の昼
ตอนเย็นเมื่อวาน   = きのうのこんばん = 昨日の今晩
ตอนกลางคืนเมื่อวาน = きのうのよる = 昨日の夜

วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

なんようび ですか。 วันอะไร

เรื่อง วันนี้ไม่รู้ว่าความเป็นมายังไง  วันในภาษาไทยนั้น ยกระบบจักรวาลมาเกือบครบเลยเชียว แอบนึกว่า ถ้ามีวันมากกว่านี้ ก็คงจะมี วันพลูโต วันหาง หรือ...............   ส่วนวันในภาษาญี่ปุ่นนั้น ความหมายไม่ได้เป็นกลุ่มก้อนกันเลย 

日曜日 = にちようび = วันอาทิตย์ = にち  = 日 = พระอาทิตย์
月曜日 = げつよび  = วันจันทร์  = げつ  = 月 = พระจันทร์ 
火曜日 = かようび  = วันอังคาร   = か   = 火 = ไฟ
水曜日 = すいようび = วันพุธ      = すい = 水 = น้ำ
木曜日 = もくようび = วันพฤหัสบดี = もく = 木 = ต้นไม้
金曜日 = きんようび = วันศุกร์     = きん = 金 = ทอง
土曜日 = どようび  = วันเสาร์     = ど = 土 = ดิน
何曜日 = なんようび = วันอะไร     = なん = 何 = อะไร
และวันหยุดนั้นคือ  やすみ

 ดูสิครับ ความหมายของเขาแต่ละวัน คนละเรื่องกันเลย  ออกแนวขัดแย้ง เช่น ไฟ กับ น้ำ, ดิน กับ ทอง

   รวม 7 วัน คือ1สัปดาห์ หรือ しゅう(週) 
  สัปดาห์นี้     = こんしゅう = 今週
  สัปดาห์หน้า = らいしゅう = 来週
  สัปดาห์ที่แล้ว = せんしゅう = 先週
  หนึ่งสัปดาห์  = いちしゅうかん = 一週間
 สองสัปดาห์ = にしゅうかん = 二週間
 สามสัปดาห์ = さんしゅうかん = 三週間
สี่ ห้า หก เป็นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนพอใจ
 


วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554

นับหนึ่งถึงล้าน

ในการนับเลขนั้นก็เหมือนกับภาษาไทยเรา และยังมีการออกเสียงพิเศษ ๆ เหมือนกันอีกด้วย มานับกัน เลย เริ่มที่หลักหน่วยก่อน

0     せろ 
1     いち         
2     に
3     さん
4     よん、し 
5     ご
6     ろく
7     なな、しち 
8     はち
9     きゅう、く
10    じゅう  

นั่นคือ 1-10 ต่อจากนี้ไปก็จะเป็นการผสมตัวเลขเพื่อให้เกิดเป็น 11 12 13...... อ่านว่า สิบหนึ่ง สิบสอง สิบสาม...... ไปเรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุดมาดูการอ่านตัวเลขหลักสิบต่อไปดีกว่า

11     じゅういち
12     じゅうに
13     じゅうさん

นับแบบนี้ไปเรื่อย ๆ 14 15 16.。。。จนถึง 20 ก็คือ ยี่สิบตามคำอ่านบ้านเรา ซึ่งที่จริงแล้วควรจะเป็น สองสิบ เพราะฉนั้นเมื่อตัวเลขผสมกันในหลักสิบแล้วก็อ่านเรียงตัวเหมือนตัวเลขไทย มาอ่านกันเลย
20 = にじゅう、 21 = にじゅういち、 22 = にじゅうに、 23 = にじゅうさん、。。。。。
30 = さんじゅう、 31 = さんじゅういち、 32 = さんじゅうに、 33 = さんじゅうさん。。
40 = よんじゅう、 32 = よんじゅういち、 42 = よんじゅうに、 43 = よんじゅうさん。。

ไปเรื่อย ๆ จนถึง 99 หรือ きゅうじゅうきゅう 

ส่วนในหลักร้อย นั้น ออกเสียงว่า ひゃく แปลว่า ร้อย หรือ หนึ่งร้อย  แต่ว่าจะพิเศษหน่อยตรง 300、600、 และ 800 นั้น เสียงจะเพี้ยนไปนิดหน่อย ต้องจำ ต้องจำ ต้องจำ และต้องจำ

100 = ひゃく      111 = ひゃくじゅういち 
200 = にひゃく     222 = にひゃくにじゅうに
300 = さんびゃく    333 = さんびゃくさんじゅうさん
400 = よんひゃく    444 = よんひゃくよんじゅうよん
500 = ごひゃく     555 = ごひゃくごじゅうご
600 = ろっぴゃく    666 = ろっぴゃくろくじゅうろく
700 = ななひゃく    777 = ななひゃくななじゅうなな
800 = はっぴゃく    888 = はっぴゃくはちじゅうはち
900 = きゅうひゃく    999 = きゅうひゃくきゅうじゅうきゅう

 ต่อไปก็เป็นหลักพัน 1000 อ่านว่า せん ส่วน 3000、6000 และ 8000 เสียงจะเพี้ยนไปนิดหน่อย ต้องจำเอาเหมือนกัน

1000 = せん     1111 = せんひゃくじゅういち、  {千百十一}
2000 = にせん    2222 = にせんにひゃくにじゅうに、  {二千二百二十二}
3000 = さんぜん   3333 = さんぜんさんびゃくさんじゅうさん、 {三千三百三十三} อ่านว่า ซางเซ็น เพราะว่ามีการเติม ten ten ทำเสียงเซ็นให้อืน ๆ หน่อย
4000 = よんせん   4444 = よんせんよんひゃくよんじゅうよん、{ 四千四百四十四}
5000 = ごせん    5555 = ごせんごひゃくごじゅうご、 {五千五百五十五}
6000 = ろくせん   6666 = ろくせんろくぴゃくろくじゅうろく、 {六千六百六十六} อ่านว่า หรกเซ็น
7000 = ななせん  7777 = ななせんななひゃくななじゅうなな、 {七千七百七十七}
8000 = はっせん  8888 = はっはっぴゃくはちじゅうはち、 {八千八百 八十八} อ่านว่า หัสเซ็น
9000 = きゅうせん 9999 = きゅうせんきゅうひゃくきゅうじゅうきゅう {九千九百九十九}  

และ 10000 อ่านว่า いちまん
ในภาษาญี่ปุ่นจะนับถึงแค่หลักหมื่น ส่วนหลักแสนจะใช้คำว่า สิบหมื่น และในหลักล้านจะใช้คำว่า หนึ่งร้อยหมื่น และใช้คำว่า หนึ่งพันหมื่น แทน สิบล้าน ส่วนหนึ่งร้อยล้านจะใช้คำว่า いちおく

10,000      = いちまん   一万
100,000     = じゅうまん  十万
1,000,000   = ひゃくまん  百万
10,000,000  = せんまん   千万
100,000,000 = いちおく    一億

ここ そこ あそこ どこ 、 こちら そちら あちら どちら

ここ、 そこ、 あそこ、 どこ  เป็นการบ่งบอกสถานที่ แปลว่า ที่นี่ ที่นั่น และที่โน่น ตามลำดับ 
ส่วน どこ นั้นแปลว่า ที่ใหน  ตัวอย่าง เช่น

ここは がくこうです。 ที่นี่เป็นคือโรงเรียน

おてあらいは そこです。ที่นั่นเป็นห้องน้ำ

あそこはどこですかที่โน่นคือที่ใหน


こちら そちら あちら どちら เป็นการบอกทิศทาง แปลว่า ทางนี้ ทางนั้น และทางโน้น ตามลำดับ ส่วน どちら นั้นแปลว่า ทางใหน ตัวอย่างเช่น

でんわは こちらです。โทรศัพท์อยู่ทางนี้

たばこは そちらです。บุหรี่อยู่ทางนั้น

エレベーターは あちらです。ลิฟต์อยู่ทางโน้น

しょくどうは どちらですか。 โรงอาหารอยู่ทางใหน
ในบางครั้ง おこ、 どちら ยังแปลว่า อะไรได้ด้วย ในกรณีที่ถามถึงสถานที่ที่สังกัด เช่น


かいしゃは どちらですか。 อยู่บริษัทอะไร
だいだくは どこですか。อยู่มหาวิทยาลัยอะไร

*ในการถามเกี่ยวกับสังกัดมักนิยมใช้ どちら เพราะมีความสุภาพมากกว่า




วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554

これ それ あれ 、 この その あの นี่ นั่น โน่น

 これ それ あれ 、แปลว่า นี่ นั่น โน่น ตามลำดัน ส่วน この その あの  ก็แปลว่า นี่ นั่น โน่น ตามลำดับเหมือนกัน
แล้วจะมีทำไมตั้งสองคำ ถ้ามันแปลเหมือนกัน
ก็ใช่ แต่มันใช้งานต่างกันครับ  これ それ あれ จะใช้บอกว่าเป็น นี่ นั่น โน่น ได้เลย
เช่น
これ かばんです。นี่คือหนังสือครับ
それ くるまですか。นั่นเป็นรถยนต์ไช่ใหมครับ
あれいぬですか、ねこですか。โน่นเป็นสุนัขหรือแมวครับ
ส่วนการใช้ この その あの ต้องมีคำนามตามด้วยเสมอ
เช่น
この ほんは だれのですか。หนังสือเล่มนี่เป็นของใครครับ
そのでんしゃは わたしのです。รถไฟฟ้าคันนั้นเป็นของผมครับ
あのかたは どなたですか。 คุณคนโน้นเป็นใคร


อืม ประมาณนี้แหละ